บทที่2

1. 
1.        จากข้อความต่อไปนี้             1.    ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะดูดกัน                           2.    ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน             3.    ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน                    4.    อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดอนุภาคที่ไม่มีประจุไฟฟ้า                 ข้อใดกล่าวถูกต้อง
  • A. 
    ก. ข้อ 1, 2 และ 3
  • B. 
    ข. ข้อ 2, 3 และ 4
  • C. 
    ค. ข้อ 1, 3 และ 4
  • D. 
    ง. ข้อ 1, 2, 3 และ 4
  • 2. 
    1.        จากข้อความต่อไปนี้             1.    ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะดูดกัน                           2.    ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน             3.    ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกัน                    4.    อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดอนุภาคที่ไม่มีประจุไฟฟ้า                 ข้อใดกล่าวถูกต้อง
    • A. 
      ก. ข้อ 1, 2 และ 3
    • B. 
      ข. ข้อ 2, 3 และ 4
    • C. 
      ค. ข้อ 1, 3 และ 4
    • D. 
      ง. ข้อ 1, 2, 3 และ 4
  • 3. 
    2.        วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนให้กับวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจไฟฟ้าตามข้อใด                                                                                            
    • A. 
      ก. อำนาจไฟฟ้าบวก
    • B. 
      ข. อำนาจไฟฟ้าลบ
    • C. 
      ค. สภาพเป็นกลาง
    • D. 
      ง. แสดงอำนาจทั้งบวกและลบ ลับกัน
  • 4. 
    2.        วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนให้กับวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะแสดงอำนาจไฟฟ้าตามข้อใด                                                                                            
    • A. 
      ก. อำนาจไฟฟ้าบวก
    • B. 
      ข. อำนาจไฟฟ้าลบ
    • C. 
      ค. สภาพเป็นกลาง
    • D. 
      ง. แสดงอำนาจทั้งบวกและลบ ลับกัน
  • 5. 
    3.        ถ่านไฟฉายที่พบเห็นในชีวิตประจำวันมีขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบที่ทำจากสารใด ตามลำดับ                                                                                               
    • A. 
      ก. เงิน และสังกะสี
    • B. 
      ข. เงิน และทองแดง
    • C. 
      ค. ทองแดง และสังกะสี
    • D. 
      ง. คาร์บอน และสังกะสี


  • เฉลย 1.a  2.c 3.c 4.a 5.d

    ไฟฟ้า
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ไฟฟ้า (แก้ความกำกวม)

    ฟ้าผ่าในเมืองตอนกลางคืนที่เกิดซ้ำ ๆ หลายครั้ง ฟ้าผ่าเป็นหนึ่งในผลกระทบที่รุนแรงที่สุดของไฟฟ้า

    ไฟฟ้า (กรีก: ήλεκτρον; อังกฤษ: electricity) เป็นชุดของปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ มีที่มาจากภาษากรีกซึ่งในสมัยนั้นหมายถึงผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากการปรากฏตัวและการไหลของประจุไฟฟ้า เช่นฟ้าผ่า, ไฟฟ้าสถิต, การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ ไฟฟ้ายังทำให้เกิดการผลิตและการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ
    พูดถึงไฟฟ้า ประจุจะผลิตสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งจะกระทำกับประจุอื่น ๆ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจากหลายชนิดของฟิสิกซ์ดังต่อไปนี้
    ใน วิศวกรรมไฟฟ้า คำว่าไฟฟ้าหมายถึง:
    ปรากฏการณ์เกี่ยวกับไฟฟ้าได้มีการศึกษากันมานับตั้งแต่โบราณกาลแต่ความก้าวหน้าในความเข้าใจมางทฤษฎีก็ยังคงช้าอยู่จนกระทั่งคริสตศตวรรษที่ 17 และ 18 แม้ว่าในขณะนั้นการประยุกต์ใช้ไฟฟ้าในทางปฏิบัติจะยังมีน้อยและมันยังไม่ถึงเวลาจนกระทั่งปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ที่วิศวกรไฟฟ้าจะสามารถนำมันไปใช้ในงานอุตสาหกรรมและตามบ้านเรือน การขยายตัวอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีไฟฟ้าในช่วงเวลานี้ได้เปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมและสังคม ความหลากหลายที่เกินธรรมดาของไฟฟ้าทำให้มันสามารถถูกนำไปใช้ในงานที่เกือบจะไร้ขัดจำกัดซึ่งรวมถึงการขนส่ง การให้ความร้อน แสงสว่าง การสื่อสาร และคอมพิวเตอร์ พลังงานไฟฟ้าปัจจุบันได้เป็นกระดูกสันหลังของสังคมอุตสาหกรรมที่ทันสมัย[1]


    ประวัติ[แก้]


    เธลีสแห่งมิเลทัส ชายที่มีหนวดและผมยุ่ง เขาเป็นนักค้นคว้าทางด้านไฟฟ้าที่รู้กันว่าเป็นคนเก่าแก่ที่สุด
    นานก่อนที่จะมีความรู้ใด ๆ ด้านไฟฟ้า ผู้คนได้ตระหนักถึงการกระตุกของปลาไฟฟ้า ในสมัยอียิปต์โบราณพบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ 2750 ปีก่อนคริสตศักราช ได้พูดถึงปลาเหล่านี้ว่าเป็น "สายฟ้าแห่งแม่น้ำไนล์" และพรรณนาว่าพวกมันเป็น "ผู้พิทักษ์" ของปลาอื่น ๆ ทั้งมวล ปลาไฟฟ้ายังถูกบันทึกอีกครั้งในช่วงพันปีต่อมาโดยกรีกโบราณ, ชาวโรมันและนักธรรมชาติวิทยาชาวอาหรับและแพทย์มุสลิม[2] นักเขียนโบราณหลายคน เช่น Pliny the Elder และ Scribonius Largus ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงอาการชาจากไฟฟ้าช็อคที่เกิดจากปลาดุกไฟฟ้าและปลากระเบนไฟฟ้า และยังรู้อีกว่าการช็อคเช่นนั้น สามารถเดินทางไปตามวัตถุที่นำไฟฟ้า[3] ผู้ป่วยที่ต้องทนทุกข์ทรมาณจากการเจ็บป่วยเช่นเป็นโรคเกาต์หรือปวดหัว จะถูกส่งไปสัมผัสกับปลาไฟฟ้าซึ่งหวังว่าการกระตุกอย่างมีพลังอาจรักษาพวกเขาได้[4] เป็นไปได้ว่าวิธีการที่เก่าแก่ที่สุดและใกล้ที่สุดในการค้นพบตัวตนของฟ้าผ่าและไฟฟ้าจากแหล่งที่มาอื่น ๆ ควรที่จะอุทิศให้กับชาวอาหรับ ผู้ที่ก่อนศตวรรษที่ 15 พวกเขามีคำภาษาอารบิกสำหรับฟ้าผ่าว่า raad ที่หมายถึงปลากระเบนไฟฟ้า[5]
    วัฒนธรรมโบราณรอบ ๆ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะรู้จักวัตถุบางอย่าง เช่นแท่งอำพัน เมื่อนำมาขัดถูกับขนแมว มันสามารถดึงดูดวัตถุที่เบาเช่นขนนก เธลีสแห่งมิเลทัสได้ทำข้อสังเกตุหลายอย่างเกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตราว 600 ปีก่อนคริสตกาล จากข้อสังเกตุเหล่านั้นเขาเชื่อว่าการเสียดสีทำให้เกิดแม่เหล็กบนอัมพัน ซึ่งต่างกับสินแร่อื่นเช่นแมกนีไทต์ที่ไม่ต้องขัดถู [6][7] เธลีสผิดที่เชื่อว่าการดึงดูดเกิดจากแม่เหล็ก แต่วิทยาศาสตร์ต่อมาจะพิสูจน์ความเชื่อมโยงระหว่างแม่เหล็กและไฟฟ้า ตามทฤษฎีที่ขัดแย้งกัน ชาวพาเทียนอาจมีความรู้เกี่ยวกับการชุบด้วยไฟฟ้ามาก่อน เมื่ออ้างถึงการค้นพบแบตเตอรี่แบกแดดที่คล้ายคลึงกับเซลล์กัลวานีในปี ค.ศ. 1936 แม้จะยังไม่แน่นอนว่าสิ่งประดิษฐ์ที่ได้จะเป็นไฟฟ้าในธรรมชาติหรือไม่[8]

    เบนจามิน แฟรงคลินได้ทำการทดลองอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับไฟฟ้าในคริสตศตวรรษที่ 18 ตามบันทึกของ โจเซฟ พรีสท์ลี่ (1767) ประวัติและสถานะปัจจุบันของไฟฟ้า ที่แฟรงคลินมีหนังสือโต้ตอบอย่างกว้างขวางกับเขาด้วย
    ไฟฟ้ายังเป็นเพียงความอยากรู้อยากเห็นทางปัญญาเป็นเวลานับพันปี กระทั่งทศวรรษที่ 1600 เมื่อวิลเลียม กิลเบิร์

    ไม่มีความคิดเห็น:

    แสดงความคิดเห็น